(1) มีแผนการดูแลบำรุงรักษา ได้แก่ เครื่องปรับอากาศ เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องพิมพ์เอกสาร (Printer) พรมปูพื้นห้อง (ขึ้นอยู่กับสำนักงาน)
(2) มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบตามแผนการดูแลบำรุงรักษา
(3) มีการปฏิบัติตามแผนที่กำหนดใน ข้อ 1
(4) มีการควบคุมมลพิษทางอากาศจากการปฏิบัติในข้อ 1
(5) การจัดวางเครื่องพิมพ์เอกสาร เครื่องถ่ายเอกสาร (Printer) ให้ห่างไกลผู้ปฏิบัติงาน
(6) การควบคุมควันไอเสียรถยนต์บริเวณสำนักงาน เช่น ติดป้ายดับเครื่องยนต์
(7) การป้องกันอันตรายจากการพ่นยากำจัดแมลง (ถ้ามี)
(8) มีการสื่อสารหรือแจ้งให้ทราบถึงการเกิดมลพิษทางอากาศจากกิจกรรมต่างๆ เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย(สามารถพิจารณาจากเอกสารหรือภาพถ่ายเป็นหลักฐานประกอบ)
5.1.1 (1-2) แผนการบำรุงรักษาประจำปี 2563-2567
หลักฐานอ้างอิง
5.1.1 (3) มีการปฏิบัติตามแผนการบำรุงรักษาประจำปี 2563-2567
หลักฐานอ้างอิง
5.1.1 (4) แนวทางการบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศ เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องพิมพ์เอกสาร
หลักฐานอ้างอิง
5.1.1 (5) การจัดวางเครื่องพิมพ์เอกสารเครื่องถ่ายเอกสาร (Pinter)
หลักฐานอ้างอิง
5.1.1 (6) การควบคุมควันไอเสียรถยนต์บริเวณสำนักงาน
หลักฐานอ้างอิง
5.1.1 (7) แนวทางการจัดป้องกันอันตรายจากการพ่นยากำจัดแมลง
หลักฐานอ้างอิง
5.1.1 (8) มีการสื่อสารหรือแจ้งให้ทราบฯ
หลักฐานอ้างอิง
(1) มีการรณรงค์การไม่สูบบุหรี่
(2) มีการติดสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่
(3) มีการติดสัญลักษณ์เขตสูบบุหรี่
(4) เขตสูบบุหรี่จะต้องไม่อยู่ในบริเวณที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญแก่ประชาชนที่อยู่บริเวณข้างเคียง ไม่อยู่ในบริเวณทางเข้า – ออกของสถานที่ที่ให้มีการคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ และไม่อยู่ในบริเวณที่เปิดเผยอันเป็นที่เห็นได้ชัดแก่ผู้มาใช้สถานที่นั้น
(5) ไม่พบการสูบบุหรี่ หรือก้นบุหรี่นอกเขตสูบบุหรี่
5.1.2 (1) มีการรณรงค์การไม่สูบบุหรี่
หลักฐานอ้างอิง
5.1.2 (2) มีการติดสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่
หลักฐานอ้างอิง
5.1.2 (3)(4) มีการติดสัญลักษณ์เขตสูบบุหรี่ และพื้นที่สูบบุหรี่
หลักฐานอ้างอิง
(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการมลพิษทางอากาศจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคาร
(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดในข้อ (1)
แนวทางการกำหนดมาตรการมีดังนี้
– มีพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงาน
– มีที่กั้นเพื่อป้องกันมลพิษทางอากาศที่จะส่งผลกระทบกับพนักงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
– มีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย
5.1.3 (1) มาตรการจัดการฝุ่นละอองและเสียง
หลักฐานอ้างอิง
5.1.3 (2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดในข้อ (1)
หลักฐานอ้างอิง
(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการมลพิษทางอากาศจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคาร
(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดในข้อ (1) แนวทางการกำหนดมาตรการมีดังนี้
– มีพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงาน
– มีที่กั้นเพื่อป้องกันมลพิษทางอากาศที่จะส่งผลกระทบกับพนักงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
– มีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย
5.2.1 (1,2,4) มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างประจำปี 2564 และ ปี2567
หลักฐานอ้างอิง
5.2.1 (3) ผลการตรวจวัดจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานกฎหมายกำหนด
หลักฐานอ้างอิง
(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการเสียงดังที่มาจากภายในสำนักงาน
(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดในข้อ (1) ถ้าพบว่ามีเสียงดังที่มาจากภายในสำนักงาน
5.3.1 การควบคุมมลพิษทางเสียงภายในอาคารสำนักงาน
หลักฐานอ้างอิง
(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการเสียงดังที่เกิดจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคาร
(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดในข้อ (1)
แนวทางการกำหนดมาตรการมีดังนี้
– มีพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงาน
– มีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย
5.3.2 (1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการเสียงดังที่เกิดจากการก่อสร้าง
หลักฐานอ้างอิง
5.3.2 (2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดใน
หลักฐานอ้างอิง
(1) จัดทำแผนผังของสำนักงานทั้งในตัวอาคารและนอกอาคาร โดยจะต้องกำหนดพื้นที่ใช้งานอย่างชัดเจน เช่น พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่สีเขียว พื้นที่ส่วนรวม และพื้นที่ทำงาน เป็นต้น สามารถสื่อสารด้วยป้ายหรืออื่นๆ ที่เหมาะสมเพื่อบ่งชี้
(2) มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างเหมาะสมทั้งพื้นที่เฉพาะ และพื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร
(3) มีการกำหนดเวลาในการดูแลรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทั้งพื้นที่เฉพาะ และพื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร
(4) การกำหนดแผนงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และคงรักษาไว้ของสำนักงาน รวมไปถึงมีการปฏิบัติจริงตามแผนงาน
5.4.1 (1) จัดทำแผนผังของสำนักงานทั้งในตัวอาคารและนอกอาคาร
หลักฐานอ้างอิง
5.4.1 (2)(4)การกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ 2563-2567
หลักฐานอ้างอิง
5.4.1 (3) 1 ตารางทำความสะอาด อาคารบริหาร 2564-2567
หลักฐานอ้างอิง
5.4.1 (3) 2 ตารางทำความสะอาดห้องน้ำ อาคารบริหาร 2564-2567
หลักฐานอ้างอิง
5.4.1 (3) 3 ตารางทำความสะอาด สื่อฯ โรงพิมพ์2564-2567
หลักฐานอ้างอิง
5.4.1 (3) 4 ตารางทำความสะอาดห้องน้ำ สื่อฯ2564-2567
หลักฐานอ้างอิง
5.4.1 (3) 5 ตารางปฏิบัติงานพื้นที่ส่วนกลางฯ2564-2567
หลักฐานอ้างอิง
5.4.1 (4) 1 การกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ 2563-2567
หลักฐานอ้างอิง
5.4.1 (4) 2 การกำหนดแผนงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และคงรักษาไว้ของสำนักงานรวมไปถึง มีการปฏิบัติจริงตามแผนงาน
หลักฐานอ้างอิง
ข้อมูลเพิ่มเติม
– กิจกรรม BIG CLEANING DAY และพัฒนาสำนักฯ
– กิจกรรม 5ส ประจำปี 2565
– กิจกรรม 5ส ประจำปี 2567
5.4.2 ร้อยละการใช้สอยพื้นที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่สำนักงานกำหนด
หลักฐานการตรวจประเมิน
สำรวจพื้นที่ตามที่กำหนดวัตถุประสงค์การใช้สอย
หมายเหตุ
หากสำนักงานมีพื้นที่จำกัด อาจมีการจัดเก็บของหรือใช้พื้นที่ร่วมกัน ดังนั้นหากไม่มีการแยกพื้นทีได้อย่างชัดเจน สามารถแบ่งสัดส่วนการใช้งานและจัดเก็บของภายในพื้นที่นั้นได้ ทั้งนี้ผู้ตรวจประเมินจะต้องใช้ดุลยพินิจในการพิจารณาร่วมด้วยต่อสถานที่จริง
5.4.3 ร้อยละการดูแลบำรุงรักษาพื้นที่ต่างๆ เช่น พื้นที่สีเขียว พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่ส่วนกลาง และพื้นที่ทำงาน เป็นต้น
หลักฐานการตรวจประเมิน
สำรวจพื้นที่ โดยพื้นที่เหล่านั้นจะต้องมีความสะอาดและเป็นระเบียบ พื้นที่สีเขียวได้รับการดูแล
(1) มีการกำหนดแนวทางการป้องกันสัตว์พาหะนำโรคในสำนักงานอย่างเหมาะสม ได้แก่ นกพิราบ หนู แมลงสาบ และอื่นๆ
(2) มีการกำหนดความถี่ในการตรวจสอบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรคอย่างน้อยที่สุดเดือนละ 1 ครั้ง
(3) มีการตรวจสอบร่องรอยตามความถี่ที่ได้กำหนด (เฉพาะตอนกลางวัน)
(4) มีแนวทางที่เหมาะสมกับการจัดการเมื่อพบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค
(5) ไม่พบร่องรอยหรือสัตว์พาหะนำโรคในระหว่างการตรวจประเมิน
หมายเหตุ การควบคุมสัตว์พาหะนำโรค สำนักงานสามารถควบคุมและจัดการได้เอง หรือว่าจ้างหน่วยงานเฉพาะมาดำเนินการแทน
5.4.4 (1) มีการกำหนดแนวทางการป้องกัน
หลักฐานอ้างอิง
5.4.4 (2) มีการกำหนดความถี่ แผนประจำปี 2563-2567
หลักฐานอ้างอิง
5.4.4 (2)(3) แผนฯรายงานตรวจฯ
หลักฐานอ้างอิง
5.4.4 (3) 1 พ่นควันแมลงสาบ
หลักฐานอ้างอิง
5.4.4 (3) 2 แนวทางป้องกันอันตรายจากการพ่นยากำจัดแมลง
หลักฐานอ้างอิง
5.4.4 (4) มีแนวทางที่เหมาะสมกับการจัดการ
หลักฐานอ้างอิง
(1) มีการกำหนดแผนการฝึกอบรมและอพยพหนีไฟ
(2) จำนวนคนเข้าอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงขั้นต้นจะต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 40 ของพนักงานแต่ละแผนกหรือส่วนงาน
(3) พนักงานทุกคนจะต้องเข้าฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (พิจารณาพนักงานหรือผู้ปฏิบัติงานทุกคนที่อยู่ประจำพื้นที่สำนักงานที่มีการฝึกซ้อมเท่านั้น)
(4) มีการอบรมดับเพลิงขั้นต้นตามแผนที่กำหนด พร้อมแสดงหลักฐาน เช่น ใบรับรองการอบรม ภาพถ่าย เป็นต้น
(5) มีการฝึกซ้อมอพยพตามแผนที่กำหนด พร้อมแสดงหลักฐาน เช่น ใบรับรอง ภาพถ่าย เป็นต้น
(6) มีการกำหนดจุดรวมพลที่สามารถรองรับได้ พร้อมมีป้ายแสดงอย่างชัดเจน
(7) มีการกำหนดเส้นทางหนีไฟ ธงนำทางหนีไฟ ไปยังจุดรวมพล พร้อมสื่อสารในพื้นที่ปฏิบัติงาน
(8) มีการกำหนดทางออกฉุกเฉิน ทางหนีไฟ พร้อมมีป้ายแสดงอย่างชัดเจน
5.5.1 (1) มีการกำหนดแผนการฝึกอบรมและอพยพหนีไฟ ประจำปี 2563-2567
หลักฐานอ้างอิง
การอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟปี 2565
5.5.1 (2)(3) ลงทะเบียน
หลักฐานอ้างอิง
5.5.1 (4)(5) ขออนุมัติโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การดับเพลิงขั้นต้นและซ้อมอพยพหนีไฟ”
หลักฐานอ้างอิง
5.5.1 (4)(5) รายงานสรุปผลการอบรมซ้อมดับเพลิง 2565
หลักฐานอ้างอิง
5.5.1 (4)(5) ภาพกิจกรรมการอบรมซ้อมดับเพลิง 2565
หลักฐานอ้างอิง
5.5.1 (6)(7)(8) มีการจุดรวมพล ธงนำทาง ทางหนีไฟ
หลักฐานอ้างอิง
การอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟปี 2567
5.5.1(2)(3) ลงทะเบียน
หลักฐานอ้างอิง
5.5.1 (4)(5) 1 ภาพกิจกรรมการอบรมซ้อมดับเพลิง 2567
หลักฐานอ้างอิง
5.5.1 (4)(5) 2 รายงานสรุปผลการอบรมซ้อมดับเพลิง 2567
หลักฐานอ้างอิง
5.5.1 (6)(7)(8) มีการจุดรวมพล ธงนำทาง ทางหนีไฟ
หลักฐานอ้างอิง
ข้อมูลเพิ่มเติม
– วิดีโอความรู้เรื่องอัคคีภัย
– วิดีโอแนวปฏิบัติในการป้องกันและระงับอัคคีภัย
5.5.2 มีแผนฉุกเฉินที่เป็นปัจจุบันและเหมาะสม และร้อยละของพนักงานที่เข้าใจแผนฉุกเฉิน (สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน)
5.5.2 มีแผนฉุกเฉินที่เป็นปัจจุบันและเหมาะสม
– ภาพแผนผังเส้นทางหนีไฟ
หลักฐานอ้างอิง
– แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย ปรับปรุง 2567
หลักฐานอ้างอิง
(1) มีการติดตั้งและเตรียมอุปกรณ์ดับเพลิง
– ถังดับเพลิงมีเพียงพอต่อการใช้งาน (กำหนดระยะห่าง อย่างน้อย 20 เมตร/ถัง ตามกฎหมาย ติดตั้งสูงจากพื้นไม่เกิน 150 เซนติเมตรนับจากคันบีบ และถ้าเป็นวางกับพื้นจะต้องมีฐานรองรับ) พร้อมกับติดป้ายแสดง
– ติดตั้งระบบเครื่องสูบน้ำดับเพลิง (ถ้ามี)
– สายฉีดน้ำดับเพลิงและตู้เก็บสายฉีด (Hose and Hose Station) (ถ้ามี)
(2) ติดตั้งระบบสัญญาณแจ้งเตือนและต้องพร้อมใช้งาน
– สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (พื้นที่มากกว่า 300 ตารางเมตร หรืออาคารสูงเกิน 2 ชั้นขึ้นไป)
– ติดตั้งตัวดักจับควัน (smoke detector) หรือตัวตรวจจับความร้อน (heat detector)
(3) มีการตรวจสอบข้อ (1) – (2) และหากพบว่าชำรุดจะต้องดำเนินการแจ้งซ่อมและแก้ไข
(4) พนักงานจะต้องเข้าใจถึงวิธีการใช้และตรวจสอบอุปกรณ์ดับเพลิงและสัญญาณแจ้งเตือน อย่างน้อยร้อยละ 75 จากที่สุ่มสอบถาม
(5) ไม่มีสิ่งกีดขวางอุปกรณ์ดับเพลิง และสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้
5.5.3 ความเพียงพอและการพร้อมใช้งานของอุปกรณ์ระบบดับเพลิงฯ
หลักฐานอ้างอิง
จัดทำโดย คณะทำงานเพื่อดำเนินการสำนักงานสีเขียว (Green Office) สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม กำแพงแสน